ข่าวโลกสีเขียว

สลด ช้างป่าท้องแก่ถูกพรานยิงซมซานตกเหวตายอนาถ

25 ก.ย. 2559

วันที่ 25 กันยายน 2559 นายณรงค์พล หมึกทอง 
ผู้อำนวยการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 (ปัตตานี) เปิดเผยว่า พบช้างป่าล้มที่บ้านบราเอ็ง ม.2 ต.มะรือโบตก อ.ระแวง จ.นราธิวาส พิกัด 698109 E 788638 N ซึ่งอยู่นอกเขตอุทยานแห่งชาติน้ำตกซีโป เมื่อเจ้าหน้าที่ได้
...

ข่าวดีและข่าวร้ายจากขั้วโลก

19 ก.ย. 2559

ศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติสหรัฐ (เอ็นเอสไอดีซี) เปิดเผยว่า พื้นที่ของแผ่นน้ำแข็งที่มหาสมุทรอาร์กติกหรือที่ขั้วโลกเหนือเมื่อวันที่ 10 กันยายนที่ผ่านมา มีขนาดหดเหลือ 4.14 ล้านตารางกิโลเมตร เทียบเท่ากับเดือนเดียวกันของปี 2551 ซึ่งเป็นระดับที่ต่ำเป็นอันดับสองนับจากที่เคยมีการวัดด้วยดาวเทียม
...

ชาวสวนลุมผวาเหี้ยวิ่งตัดหน้า ร้อง กทม. จับ กรมอุทยานติงเบา ๆ เหี้ยไม่ทำร้ายใครก่อน

19 ก.ย. 2559

กรณีสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร(กทม.) มีโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในสวนลุมพินี โดยจะเข้าจับตัวเหี้ยที่เบื้องต้นมีมากกว่า 400 ตัวไปไว้ที่สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาสน จ.ชลบุรี เนื่องจากได้รับการร้องเรียนจากประชาชนที่เข้าไปออกกำลังกายว่า ตัวเหี้ยออกมาสร้างความหวาดกลัวให้ เช่น วิ่งตัดหน้าขณะกำลังวิ่ง หรือ
...

รองอธิบดีกรมอุทยานฯ ชี้ อนาคอนดาเรื่องเล็ก เหลือม-หลาม น่าห่วงกว่า

30 ส.ค. 2559

วันที่ 30 สิงหาคม นายอดิศร นุชดำรงค์ รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้สัมภาษณ์เรื่องความคืบหน้าที่กรมอุทยานฯ จะออกหาตัวงูอนาคอนดาที่คาดว่าเวลานี้น่าจะมีอยู่ในประเทศไทยประมาณ 100 ตัวแต่ยังไม่ทราบว่าอยู่ที่ไหนบ้างว่า ก่อนหน้านี้ได้คุย
...

สยอง อนาคอนดาบุกไทย มีคนลักลอบนำเข้าแล้วกว่าร้อยตัว

23 ส.ค. 2559

รองอธิบดีกรมอุทยานฯ กล่าวอีกว่า ทั้งนี้ได้มีการตรวจสอบจากรายงานการให้อนุญาตนำเข้างูอนาคอนดา พบว่า มีการอนุญาตเมื่อปี 2543 จำนวน 5 ตัว ในปี 2547 มีผู้ขออนุญาตเป็นขององค์การสวนสัตว์ นำเข้า 17 ตัว ซึ่งสามารถเลี้ยงดูได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี และในปี 2549 จำนวน 50 ตัว นำเข้าเพื่อการค้าโดยภาคเอกชน ซึ่งต้องตรวจสอบอีกครั้งว่าเจ้าของงูอนาคอนดาตัวดังกล่าวอยู่ในรายชื่อหรือมีที่มาตามที่กรมอุท
...

เจอไข่จระเข้น้ำจืดใกล้สูญพันธุ์ที่แก่งกระจาน 27 ฟอง เจ้าหน้าที่เตรียมเก็บเข้าตู้ฟักเพื่อเพาะพันธุ์

1 ส.ค. 2559

วันที่ 30 กรกฎาคม นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นายนริศ ภูมิภาคพันธ์ นายอุทิศ กุฏอินทร์ อาจารย์คณะวนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร.อ.นายแพทย์ปัญญา ยังประภากร ฟาร์มจระเข้ทองการเกษตร และผู้บริหารลงพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน บริเวณหมู่
...

29 ก.ค. วันเสือโคร่งโลก ห้วยขาแข้งจัดงานกระตุ้นสำนึก

นานาชาติชูไทยเป็นหนึ่งด้านการจัดการคุ้มครองเสือ พบคุณย่าเสือโคร่งในธรรมชาติอายุ 15 ขวบ ยังแข็งแรงดีอยู่

30 ก.ค. 2559

เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จ.อุทัยธานี พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) พร้อมด้วยนายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เอกอัครราชทูต ผู้แทนองค์การนานาชาติ ร่วมจัดงานวันเสือโคร่งโลกประจำปี 2559 ภายใต้แนวคิด "ผืนป่าตะวันตก บ้านแห่งความหวังของเสือโคร่งอินโดจีน" โดยมีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
...

พบเต่ากระวางไข่ 129 ฟองข้างรีสอร์ต

22 มิ.ย. 2559

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนกลาง จ.ชุมพร ได้ลงพื้นที่บริเวณชายหาดโรงแรมศิลาวดี พูล สปา รีสอร์ท (หาดละไม) ตำบลมะเร็ต อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเฝ้าติดตามการวางไข่ของเต่าทะเล เนื่องจากมีการพบว่าแม่เต่ากระตัวหนึ่ง ขนาดกระดองกว้าง 76 เซนติเมตร ยาว 82 เซนติเมตร
...

คดีนกเงือกวิกรม "คนดี" รอด น้องชายผิด

20 มิ.ย. 2559

กรณีนายวิกรม กรมดิษฐ์ นักธุรกิจชื่อดังถ่ายภาพคู่กับนกเงือก จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากนักเงือกเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ไม่สามารถครอบครองหรือเลี้ยงได้นั้น ต่อมาทางกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงได้เข้าตรวจสอบที่อาคารกรมดิษฐ์ เลขที่ 2126 บริเวณดาดฟ้า ชั้น 6 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ และบริเวณบ้านเลขที่ 7 ม.10 ต.หมูสี อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา แต่ไม่พบ
...

ความคืบหน้า "นกเงือกวิกรม"

พบนกเงือกเพิ่มอีก 2 ตัวที่บ้านเขาใหญ่

16 มิ.ย. 2559

เจ้าหน้าที่สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ (สบอ.) ที่ 7 นครราชสีมา ได้เข้าตรวจที่บ้านพักนายวิกรมที่เขาใหญ่ พบนกเงือก 2 ตัว เป็นนกเงือกสีน้ำตาลคอขาวคาดว่าเป็นตัวผู้ ส่วนอีกตัวไม่แน่ใจว่าเป็นชนิดใด แต่เกาะอยู่บนต้นไม้ในบริเวณบ้าน คนในบ้านแจ้งว่า ไม่ใช่นกเลี้ยง แต่เป็นนกที่บินมาเกาะต้นไม้เอง
...

    ตำรวจสิ่งแวดล้อมฮานอยจับกุมรถแท็กซีที่กำลังลักลอบขนเสือโคร่งแช่แข็งและกระดูกเสือโคร่งไปยังฮานอย กระดูกทั้งหมดมีน้ำหนัก 11 กิโลกรัม คาดว่าชำแหละมาจากเสือโคร่งตัวเต็มวัยสองตัว ส่วนซากแช่แข็งเป็นเสือโคร่งวัยรุ่น น้ำหนักประมาณ 57 กิโลกรัม การจับกุมครั้งนี้เป็นการจับการขนย้ายอวัยวะเสือโคร่งเป็นครั้งที่ 3 ตั้งแต่ต้นปี

    10 ส.ค. 52
    นักวิทยาศาสตร์พบว่า มังกรโคโดโม (Varanus komodoensis) ฆ่าเหยื่อด้วยพิษแบบเดียวกับพิษงู ไม่ใช่ฆ่าเหยื่อด้วยแบคทีเรียในน้ำลายดังที่เคยเชื่อกันมานานกว่า 20 ปี และยังพบว่าต่อมพิษของมังกรโคโดโมเป็นต่อมพิษที่ซับซ้อนที่สุดในบรรดาสัตว์เลี้อยคลานอีกด้วย

    21 พ.ค. 51
    สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (สพภ.) ร่วมกับ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช (อส.) และธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จัดโครงการส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจจากทรัพยากรชีวภาพ (เลี้ยงไก่ฟ้า) โดยนำร่องด้วยไก่ฟ้า 5 ชนิด ได้แก่ ไก่ฟ้าพญาลอ ไก่ฟ้าหลังขาวหรือจันทรบูร ไก่ฟ้าหลังเทาแข้งแดง ไก่ฟ้าหน้าเขียว และไก่ฟ้าหางลายขวาง

    21 ม.ค. 52
    งานวิจัยภาคสนามของนักสำรวจจากเยอรมันที่สำรวจป่าประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเป็นเวลาห้าปี พบว่า โบโนโบ ซึ่งเป็นลิงรักสันติ บางครั้งก็ฆ่าและจับลิงกินเป็นอาหารด้วย ซึ่งต่างจากความเชื่อดั้งเดิมว่าโบโนโบไม่จับลิงด้วยกันกิน

    23 ต.ค. 51
    บัญชีแดงของไอยูซีเอ็นฉบับปี 2551 ได้ปรับสถานภาพของโลมาอิรวะดีหรือโลมาหัวบาตรครีบหลังจากเดิม "ข้อมูลไม่เพียงพอ" ไปเป็น "เสี่ยงสูญพันธุ์" โดยมีภัยคุกคามหลักคือการถูกจับโดยบังเอิญ การสร้างเขื่อน การตัดไม้ทำลายป่า และการทำเหมือง

    20 ต.ค. 51
    การทดลองครั้งหนึ่งเมื่อไม่นานมานี้พบว่า ลิงชิมแปนซีสามารถจำแนกเพื่อนของมันด้วยการมองที่ก้นเพียงอย่างเดียวได้ดีเท่ากับการจำแนกด้วยการมองใบหน้า

    30 ก.ย. 51
    เจนนี กอริลลาที่อายุมากที่สุดในแหล่งเพาะเลี้ยงตายลงแล้วที่สวนสัตว์ดัลลัส มีอายุรวม 55 ปี เจนนีเป็นกอริลลาพันธุ์ป่าต่ำตะวันตก เพิ่งฉลองวันเกิดปีที่ 55 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ที่ผ่านมา

    7 ก.ย. 51
    เคนเนท โรส จากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ ได้ขุดพบกระดูกของกระต่ายที่อินเดีย โครงกระดูกนี้มีอายุถึง 53 ล้านปี เป็นซากกระต่ายที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในโลก

    25 มี.ค. 51
    สาธารณรัฐคองโก นักวิทยาศาสตร์สามารถถ่ายภาพลิงกอริลาตะวันตกในธรรมชาติผสมพันธุ์กันแบบหันหน้าเข้าหากันได้เป็นครั้งแรกในโลก ก่อนหน้านี้ทราบว่ามีเพียงคนและลิงโบโนโบเท่านั้นที่ผสมพันธุ์แบบหันหน้าเข้าหากัน เคยมีรายงานว่าลิงกอริลลาภูเขาบางครั้งก็หันหน้าเข้าหากันแต่ไม่เคยมีภาพถ่ายยืนยัน ส่วนกอริลลาตะวันตกก็เคยพบพฤติกรรมแบบนี้มาก่อนในกรงเลี้ยง แต่ไม่เคยพบในธรรมชาติจนกระทั้งในครั้งนี้

    15 มี.ค. 51
    ฮาโดรัม ชิริไฮ นักปักษีวิทยาชาวอิสราเอล สามารถถ่ายภาพนก Beck’s petrels (Pseudobulweria becki) ได้ราว 30 ตัว ที่หมู่เกาะบิสมาร์ก เป็นการพบนกชนิดนี้เป็นครั้งแรกในรอบ 80 ปี ก่อนการพบครั้งนี้ เคยมีการพบเห็นเพียงสองครั้งเท่านั้นคือในปี 2471 และ 2472

    11 มี.ค. 51
Powered by Wimut Wasalai